อุปสรรค ปัญหา ทำให้เกิดการเรียนรู้
ชื่อ | ผศ.วนิสา หะยีเซะ |
---|---|
ตำแหน่ง | หัวหน้า สาขาวิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น |
อีเมล | jj28-nur@hotmail.com |
ที่อยู่ |
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 99 ต.โคกเคียน อ.เมือง จ.นราธิวาส 96000 |
โทร | 073-709030 ต่อ 3819 |
1) การประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๔) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์.
อัณญ์ยภัคสร ใจสมคม (หัวหน้าโครงการวิจัย), ฟูซียะห์ หะยี, ศิริพันธุ์ ศิริพันธุ์, มุสลินท์ โตะแปเราะ, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นิซรีน เจ๊ะมามะ, มูฮัมหมัดไซด์ ซาและ, วนิสา หะยีเซะ, วรากรฟาอิส วาเลาะแต.
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 2568.
2) การพัฒนานวัตกรรมสื่อมัลติมีเดีย 2 ภาษา (ไทย-มลายู) ร่วมกับการอบรมเชิงปฏิบัติการในการประเมินพัฒนาการและการได้รับวัคซีนตามวัยในเด็กปฐมวัย.
วนิสา หะยีเซะ (หัวหน้าโครงการวิจัย), ฮัมดี มาแย, หนึ่งฤทัย นิลกาญจน์, ปุณญิศาฐ์ จรินทร์ธนันต์ .
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม. 2566.
3) การจัดการความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วยสื่อมัลติมีเดีย 2 ภาษา (ไทย-มาลายู) ในการดูแลสุขภาวะที่ดีของทารกแรกเกิดในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส.
วนิสา หะยีเซะ (หัวหน้าโครงการวิจัย), ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, ฮัมดี มาแย, อาเร็ง รอแม, รอยัน หะยีมเซ็ง.
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โครงการจัดการความรู้และถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์. 2565.
4) ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการทำวิจัยของบุคลากรสายวิชาการมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์.
ดนิตา แท่นมณี (หัวหน้าโครงการวิจัย), วนิสา หะยีเซะ, ศิริพันธุ์ ศิริพันธุ์.
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 2563.
5) การพัฒนารูปแบบการเผชิญความปวดแบบมีส่วนร่วมของผู้ป่วยฮีโมฟีเลียในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้.
ฮัมดี มาแย (หัวหน้าโครงการวิจัย), นางจารุณี จันทสุวรรณ, วนิสา หะยีเซะ, ฮิชาม อาแว.
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม. 2563.
6) การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษาปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ.
รุสดี หะยีมะลี (หัวหน้าโครงการวิจัย), อิบรอฮิม สารีมาแซ, สรัญณี อุเส็นยาง, พัชนี ตูเล๊ะ, วนิสา หะยีเซะ.
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนศ.มอ.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสธ.). 2563.
7) ผลของการสอนโดยใช้กรณีศึกษาผ่านสื่อการเรียนรู้ E-Learning ต่อการใช้เหตุเชิงจริยธรรมและทัศนคติเชิงจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยเด็กของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลยนราธิวาสราชนครินทร์.
ฮัมดี มาแย (หัวหน้าโครงการวิจัย), ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, วนิสา หะยีเซะ, ทวีพร เพ็งมาก.
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 2562.
8) การพัฒนานวัตกรรมแอปพลิเคชั่นบนระบบแอนดรอยด์เรื่องการดูแลคุณภาพชีวิตทารกเกิดก่อนกำหนดหลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล.
วนิสา หะยีเซะ (หัวหน้าโครงการวิจัย), ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นุชสรา ทรัพย์อินทร์, นิซรีน เจ๊ะมามะ, นุจรี ไชยมงคล.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2561.
9) การพัฒนาระบบการดูแลต่อเนื่องที่บ้านและการติดตามภาวะสุขภาพของผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด อายุ 0-3 ปี สำหรับหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ ในจังหวัดชายแดนใต้.
ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย), ยุนี พงศ์จตุรวิทย์, อัณญ์ยภัคสร ใจสมคม, พัชราวดี ทองเนื่อง, วนิสา หะยีเซะ.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2561.
10) การจัดการความรู้เพื่อพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนและองค์กรด้านสุขภาพในพื้นที่ นำไปสู่หมู่บ้านนมแม่ต้นแบบในกลุ่มทารกเกิดก่อนกำหนดในจังหวัดนราธิวาส.
นิซรีน เจ๊ะมามะ (หัวหน้าโครงการวิจัย), วนิสา หะยีเซะ, นุชสรา ทรัพย์อินทร์, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, สารินี สาวัน, นุุจรี ไชยมงคล.
โครงการจัดการความรู้เพื่อการใช้ประโยชน์ในมิติเชิงนโยบายสาธารณะ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2561.
11) การจัดการความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)และนักศึกษาพยาบาลในการดูแลและติดตามคุณภาพชีวิตทารกเกิดก่อนกำหนดมุสลิมในพื้นที่จังหวัดนราธิวาสสาธารณะ.
วนิสา หะยีเซะ (หัวหน้าโครงการวิจัย), ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, ศิราคริน พิชัยสงคราม, อนงค์ ภิบาล, ระเบียบ ชอบเอียด.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2559.
12) การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น(หมอหมู่บ้าน) ในการดูแลเด็กป่วยในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส.
วนิสา หะยีเซะ (หัวหน้าโครงการวิจัย), อนงค์ ภิบาล.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2557.
1) A Continuing Care Program at Home on Caregiver's Role for Children with Congenital Heart Disease: A Pilot Study.
Wangsawat, T., Chemama, N., Hayee, F., Jehloh, L., Jaisomkom, A., Tongnuang, P., Hayeese, W., Thussaneeya Kuiburd, Hikmi Muharromah Pratiwi. (2024).
Jurnal Keperawatan Soedirman, 19(2), 128-134.
1) ผลของการใช้การ์ตูนแอนิเมชัน 2 ภาษา (ไทย-มลายู) ต่อความรู้ และทัศนคติในการรับวัคซีน ในกลุ่มผู้ดูแลเด็กที่ไม่มาฉีดวัคซีนตามนัดในจังหวัดนราธิวาส.
วนิสา หะยีเซะ, ฮัมดี มาแย. (2568).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 17(1), 20-35.
2) การนำหลักจริยธรรมทางการพยาบาลสู่การปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์.
ทวีพร เพ็งมาก, ทิพยวรรณ นิลทยา, วนิสา หะยีเซะ. (2568).
วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล, 31(1), 54-69.
3) รูปแบบการแก้ปัญหาทารกแรกเกิด - 28 วันตาย ในสถานการณ์ความไม่สงบของจังหวัดนราธิวาส ปี 2564-2565.
รอยัน หะยีมะเย็ง, ยามีละ มุซอ, เพ็ญศิริ สิริกุล, วนิสา หะยีเซะ. (2566).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 15(1), 18-38.
4) การพัฒนานวัตกรรมสื่อให้ความรู้ในการดูแลทารกแรกเกิดด้วยสื่อ 2 ภาษา (ไทย-มลายู)ผ่านแอปพลิเคชันไลน์.
วนิสา หะยีเซะ, ฮัมดี มาแย, รอยัน หะยีมะเย็ง. (2566).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 15(3), 82-99.
5) ความสอดคล้องของการสั่งใช้ยา Clopidogrel กับข้อบ่งใช้สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจในโรงพยาบาลระแงะ จังหวัดนราธิวาส.
นันทิยา เอี่ยมศิริ, วนิสา หะยีเซะ. (2565).
วารสารเภสัชกรรมไทย, 14(1), 219-228.
6) ผลของการให้ความรู้อย่างมีแบบแผนต่อการรับรู้ความสามารถและพฤติกรรมการดูแลโภชนาการเด็กปฐมวัยที่มีภาวะขาดสารอาหารของผู้ดูแลในเขตเทศบาลนครยะลา.
มยุรี ยีบาโล๊ะ, เขมพัทธ์ ขจรกิตติยา, ยุซรอ เล๊าะแม, วนิสา หะยีเซะ. (2565).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 14(3), 23-33.
7) การพัฒนาแอปพลิเคชันบนแอนดรอยด์:ผลของการให้ความรู้ผ่านแอปพลิเคชันในการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดหลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลตามวิถีมุสลิม.
วนิสา หะยีเซะ, นุจรี ไชยมงคล, อัจฉราวดี ศรียะศักดิ์, มยุรี ยีปาโล๊ะ. (2564).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 13(1), 39-55.
8) การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของบิดาในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย: กรณีศึกษาอำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี.
อัจฉราวดี ศรียะศักดิ์, วารุณี เกตุอินทร์, วนิสา หะยีเซะ. (2564).
วารสารพยาบาลทหารบก , 22(1), 402-411.
9) ผลของโปรแกรมการดูแลด้านโภชนาการต่อเนื่องที่บ้านต่อการเจริญเติบโตของผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดในหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภู.
ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, อัณญ์ยภัคสร ใจสมคม, ยุนี พงศ์จตุรวิทย์, ประเสริฐ ไพบูลย์รุ่งโรจน์, วนิสา หะยีเซะ. (2564).
วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 31(1), 136-147.
10) ภาวะผู้นำตามค่านิยมกระทรวงสาธารณสุขของผู้บริหารทางการพยาบาล โรงพยาบาลระแงะ จังหวัดนราธิวาส.
บุหงา ดุลยคุปต์, สุนีย์ นำพิพัฒน์, วนิสา หะยีเซะ. (2564).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 13(1), 142-159.
11) การพัฒนารูปแบบการดูแลและติดตามทารกเกิดก่อนกำหนดหลังจำหน่วยออกจากโรงพยาบาล.
วนิสา หะยีเซะ, นุจรี ไชยมงคล, วิมลวรรณ ดำคล้าย, ธิดา มามะ, เยาวรี คอลออาแซ, ทวีพร เพ็งมาก, สุกัญญา เทพโซ๊ะ. (2563).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 12(1), 1-14.
12) การพัฒนารูปแบบบันทึกเพื่อการส่งต่อในการดูแลและติดตามสุขภาพทารกเกิดก่อนกำหนดต่อเนื่องที่บ้าน.
วนิสา หะยีเซะ, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, ฮัมดี มาแย, วิมลวรรณ ดำคล้าย, ณัฐวุฒิ เชื้อกุลา. (2563).
วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 7(2), 244-259.
13) ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ต่อความรู้และบทบาทของผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดอายุ 0-3 ปี.
ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, อนงค์ ภิบาล, ประเสริฐ ไพบูลย์รุ่งโรจน์, วนิสา หะยีเซะ, สาวิณี ชาญสินธพ, นูรดีนี ดือเระ, นิรุสณีย์ อากาจิ. (2562).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 11(3), 93-103.
14) ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลและติดตามทารกเกิดก่อนกำหนดหลงจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล.
วนิสา หะยีเซะ, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, วิมลวรรณ ดำคล้าย, นุจรี ไชยมงคล. (2562).
วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา , 27(2), 30-39.
15) การพัฒนาผ้าปิดตาสื่อรักขณะส่องไฟรักษาในทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลือง.
วนิสา หะยีเซะ, ลาตีฟาร์ มนุกูล, ยามีละห์ ยะยือรี, มาดีฮะห์ มะเก็ง. (2562).
วารสารพยาบาลสาธารณสุข , 33(3), 1-14.
16) ภาวะโภชนาการและประสบการณ์ของผู้ดูแลในการจัดการด้านอาหารสำหรับเด็กผุ้ป่วยโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดอายุ 0-3 ปี ในจังหวัดชายแดนใต้.
ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, อัณญ์ยภัคสร ใจสมคม, ยุนี พงศ์จตุรวิทย์, ประเสริฐ ไพบูลย์รุ่งโรจน์, วนิสา หะยีเซะ, ลุตฟี สะมะแอ. (2562).
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 30(2), 82-93.
17) การพัฒนานวัตกรรมผ้าอ้อม ผ้าอ้อมสายเดี่ยว ในทารกเกิดก่อนกำหนด.
วนิสา หะยีเซะ, วิมลวรรณ คำคล้าย, ลาตีฟาร์ มนุกุล. (2561).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 10(1), 77-87.
18) การพัฒนานวัตกรรมผ้าห่มไฟฟ้าต่ออุณหภูมิร่างกายในทารกเกิดก่อนกำหนด.
วนิสา หะยีเซะ, ฮาบิบ บิณอะฮมัด, นุรไดดา ซอและ, พอตีเมาะ อาแว, ฟัดฮียะห์ มะเซ็ง, ฟาซียะห์ ยามาโก, มุสลีมะห์ หมันหลิน, มูนีเราะห์ เวาะสะ, รูซีตา เจ๊ะปูเต๊ะ, วรัญญา ขุนนุรักษ์, วารีซัน เจ๊ะโซ๊ะ, อพัฟ อาแด. (2561).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 10(2), 1-12.
19) ผลของโปรแกรมการรับรู้ความสามารถของผู้ดูแลในการตอบสนองความต้องการพื้นฐานทารกต่อภาวะสุขภาพทารกเกิดก่อนกำหนดมุสลิมในจังหวัดนราธิวาส.
วนิสา หะยีเซะ, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, ศิราคริน พิชัยสงคราม, นุจรี ไชยมงคล. (2560).
วารสารพยาบาลสาธารณสุข , 31(1), 61-74.
20) ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถตนเองของผู้ดูแลต่อคุณภาพชีวิตทารกเกิดก่อนกำหนดมุสลิมในจังหวัดนราธิวาส.
วนิสา หะยีเซะ, นุชสรา ทรัพย์อินทร์, ศิราคริน พิชัยสงคราม, นุจรี ไชยมงคล. (2559).
วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา , 24(2), 0-0.
21) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตทารกเกิดก่อนกำหนด มุสลิมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้.
วนิสา หะยีเซะ, นุชสรา ทรัพย์อินทร์, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นุจรี ไชยมงคล. (2558).
วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา , 23(3), 26-40.
22) คุณภาพชีวิตของทารกเกิดก่อนกำหนดมุสลิมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ของประเทศไทย.
วนิสา หะยีเซะ, นุชสรา ทรัพย์อินทร์, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์. (2558).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 7(1), 1-14.
23) ผลของโปรแกรมการโอบกอดร่วมกับการอ่านอัลกุรอานของมารดามุสลิมต่อการเจริญเติมโตของทารกคลอดก่อนกำหนดและความผูกพันรักใคร่ระหว่างมารดา-ทารก.
วนิสา หะยีเซะ, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นุจรี ไชยมงคล. (2557).
วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา , 22(2), 37-51.
24) ปัจจัยส่วนบุคคล การสนับสนุนทางสังคม และการรับรู้ความสามารถของตนเองของมารดา ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการอบรมเลี้ยงดูบุตรวัยก่อนเรียนของมารดามุสลิมที่สูญเสียสามีจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส.
วนิสา หะยีเซะ, วันธณี วิรุฬพาณิช. (2557).
วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ , 20(1), 91-112.
25) อิทธิพลของความผูกพันรักใคร่ระหว่างมารดา - ทารก ที่มีต่อการเจริญเติบโตของทารกเกิดก่อนกำหนดในหออภิบาลทารกแรกเกิดโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์.
วนิสา หะยีเซะ, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นุจรี ไชยมงคล. (2557).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 6(3), 13-23.
26) ปัจจัยมีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือนของมารดาในจังหวัดนราธิวาส.
ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นันทา กาเลี่ยง, อนงค์ ภิบาล, อัณญ์ยภัคสร ใจสมคม, วนิสา หะยีเซะ. (2557).
พยาบาลสาร , 41, 123-133.
1) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรุนแรงของภาวะเบาหวานเข้าจอประสาทตาในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลระแงะ จังหวัดนราธิวาส.
เอกวิทย์ จินดาเพ็ชร, วรินทร จันทสิโร, วนิสา หะยีเซะ. (2564).
วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี, 4(2), 127-138.
1) ผลการใช้แผ่นยางหุ้มสายเครื่องช่วยหายใจ (Save Tube Save Lungs: STSL) ต่อปริมาณน้ำในสายเครื่องช่วยหายใจในทารกคลอดก่อนกำหนด.
วนิสา หะยีเซะ, นาบิล หะยีมะแซ, กันยา บกกระบือ, นฤมล เอียดตรง, นาซีเราะห์ อาแวกาจิ, นาวาตี บินฮิม, นูรอาซีกีน มุซิ, นูรีซา ยีปอง, บาซาซะห์ สาแด, วิลดานี ลีเป็ง, อาซีเยาะห์ กุวิง, อานีซะห์ มะงง. (2561).
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7 ประจำปี 2561 เรื่องการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนประเทศสู่ความมั่นคงและยั่งยืมในยุค Thailand 4.0. 321-333.
2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล แรงสนับสนุนทางสังคม การรับรู้ความสามารถของผู้ดูแล กับคุณภาพชีวิตของทารกเกิดก่อนกำหนดมุสลิมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้.
วนิสา หะยีเซะ, นุชสรา ทรัพย์อินทร์, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นุจรี ไชยมงคล. (2558).
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 ประจำปี 2558 เรื่อง การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน ผลงานวิจัยภาคโปสเตอร์. 131-140.
3) การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรของหมอพื้นบ้านรักษาเด็กป่วยในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส.
วนิสา หะยีเซะ, อนงค์ ภิบาล, นิภารัตน์ จันทร์แสงรัตน์. (2558).
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 ประจำปี 2558 เรื่อง การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน ผลงานวิจัยภาคโปสเตอร์. 141-152.
4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล แรงสนับสนุนทางสังคมและการรับรู้ความสามารถของตนเองของมารดากับพฤติกรรมการอบรมเลี้ยงดูบุตรของมารดามุสลิมที่สูญเสียสามีจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส.
วนิสา หะยีเซะ, มยุรี นภาพรรณสกุล, วันธณี วิรุฬพาณิช. (2557).
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 "การบูรณาการงานวิจัยเพื่อสร้างสังคมอุดมปัญญาภายใต้พหุวัฒนธรรมสู่สังคมสันติสุขและประชาคมอาเซียน" . 0-0.
5) ผลของการอ่านอัลกุรอานของมารดามุสลิม ต่อการเจริญเติบโตของทารกเกิดก่อนกำหนดและความผูกพันรักใคร่ระหว่างมารดา-ทารก.
วนิสา หะยีเซะ, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นุจรี ไชยมงคล. (2557).
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 "การบูรณาการงานวิจัยเพื่อสร้างสังคมอุดมปัญญาภายใต้พหุวัฒนธรรมสู่สังคมสันติสุขและประชาคมอาเซียน". 0-0.