ทำวันนี้ให้ถูกต้อง แล้วพรุ่งนี้จะไม่ผิด
ชื่อ | ผศ.ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์ |
---|---|
ตำแหน่ง | อาจารย์ สาขาวิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น |
อีเมล | Tidarat.tw73@gmail.com |
ที่อยู่ |
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 99 ต.โคกเคียน อ.เมือง จ.นราธิวาส 96000 |
โทร | 073-709030 ต่อ 3819 |
1) การประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๔) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์.
อัณญ์ยภัคสร ใจสมคม (หัวหน้าโครงการวิจัย), ฟูซียะห์ หะยี, ศิริพันธุ์ ศิริพันธุ์, มุสลินท์ โตะแปเราะ, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นิซรีน เจ๊ะมามะ, มูฮัมหมัดไซด์ ซาและ, วนิสา หะยีเซะ, วรากรฟาอิส วาเลาะแต.
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 2568.
2) การจัดการความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วยสื่อมัลติมีเดีย 2 ภาษา (ไทย-มาลายู) ในการดูแลสุขภาวะที่ดีของทารกแรกเกิดในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส.
วนิสา หะยีเซะ (หัวหน้าโครงการวิจัย), ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, ฮัมดี มาแย, อาเร็ง รอแม, รอยัน หะยีมเซ็ง.
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โครงการจัดการความรู้และถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์. 2565.
3) รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานสำหรับนักศึกษาพยาบาลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19.
สรวงสุดา เจริญวงศ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย), ฟุรซาน บินซา, สารินี สาวัน, ปุณญิศาฐ์ จรินทร์ธนันต์ , นัจญวา นิยมเดชา, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, มุสลินท์ โตะแปเราะ, ฮิชาม อาแว, สุภาวดี อดิศัยศักดา, รังสฤษฎ์ แวดือราแม.
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 2564.
4) การพัฒนาแอพพลิเคชั่นการดูแลแบบประคับประคองในอาสาสมัครประจำหมู่บ้านตามวิถีพหุวัฒนธรรมในจังหวัดนราธิวาส.
นูรดีนี ดือเระ (หัวหน้าโครงการวิจัย), รศ.ดร.วราภรณ์ คงสุวรรณ, นายแอซอรี อาลี, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, มนัสวี อดุลยรัตน์.
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 2562.
5) ผลของการสอนโดยใช้กรณีศึกษาผ่านสื่อการเรียนรู้ E-Learning ต่อการใช้เหตุเชิงจริยธรรมและทัศนคติเชิงจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยเด็กของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลยนราธิวาสราชนครินทร์.
ฮัมดี มาแย (หัวหน้าโครงการวิจัย), ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, วนิสา หะยีเซะ, ทวีพร เพ็งมาก.
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 2562.
6) การพัฒนานวัตกรรมแอปพลิเคชั่นบนระบบแอนดรอยด์เรื่องการดูแลคุณภาพชีวิตทารกเกิดก่อนกำหนดหลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล.
วนิสา หะยีเซะ (หัวหน้าโครงการวิจัย), ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นุชสรา ทรัพย์อินทร์, นิซรีน เจ๊ะมามะ, นุจรี ไชยมงคล.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2561.
7) แบบจำลองเชิงสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงของผู้ใหญ่ที่มีภาวะก่อนเป็นโรคความดันโลหิตสูง.
พัชราวดี ทองเนื่อง (หัวหน้าโครงการวิจัย), อัณญ์ยภัคสร ใจสมคม, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นูรดีนี ดือเระ, นันทิยา โข้ยนึ่ง, พัชรี รัตนพงษ์.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2561.
8) การพัฒนาระบบการดูแลต่อเนื่องที่บ้านและการติดตามภาวะสุขภาพของผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด อายุ 0-3 ปี สำหรับหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ ในจังหวัดชายแดนใต้.
ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย), ยุนี พงศ์จตุรวิทย์, อัณญ์ยภัคสร ใจสมคม, พัชราวดี ทองเนื่อง, วนิสา หะยีเซะ.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2561.
9) การจัดการความรู้เพื่อพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนและองค์กรด้านสุขภาพในพื้นที่ นำไปสู่หมู่บ้านนมแม่ต้นแบบในกลุ่มทารกเกิดก่อนกำหนดในจังหวัดนราธิวาส.
นิซรีน เจ๊ะมามะ (หัวหน้าโครงการวิจัย), วนิสา หะยีเซะ, นุชสรา ทรัพย์อินทร์, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, สารินี สาวัน, นุุจรี ไชยมงคล.
โครงการจัดการความรู้เพื่อการใช้ประโยชน์ในมิติเชิงนโยบายสาธารณะ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2561.
10) ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ต่อความรู้และบทบาทของผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดอายุ 0-3 ปี ที่เข้ารับการรักษาในตึกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลในสามจังหวัดชายแดนใต้.
ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย), อนงค์ ภิบาล, ประเสริฐ ไพบูลย์รุ่งโรจน์, บุคคลภายนอก.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2559.
11) การจัดการความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)และนักศึกษาพยาบาลในการดูแลและติดตามคุณภาพชีวิตทารกเกิดก่อนกำหนดมุสลิมในพื้นที่จังหวัดนราธิวาสสาธารณะ.
วนิสา หะยีเซะ (หัวหน้าโครงการวิจัย), ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, ศิราคริน พิชัยสงคราม, อนงค์ ภิบาล, ระเบียบ ชอบเอียด.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2559.
12) ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ต่อความรู้และบทบาทของผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคพิการแต่กำเนิด อายุ 0-3 ปี ที่เข้ารับการรักษาในตึกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์.
ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย), อนงค์ ภิบาล, ประเสริฐ ไพบูลย์รุ่งโรจน์.
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 2558.
1) A Continuing Care Program at Home on Caregiver's Role for Children with Congenital Heart Disease: A Pilot Study.
Wangsawat, T., Chemama, N., Hayee, F., Jehloh, L., Jaisomkom, A., Tongnuang, P., Hayeese, W., Thussaneeya Kuiburd, Hikmi Muharromah Pratiwi. (2024).
Jurnal Keperawatan Soedirman, 19(2), 128-134.
1) การพัฒนาและประเมินเมินผลการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันปอดอักเสบในโรงพยาบาลสำหรับผู้ป่วยติดเตียง โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์.
ทัศณียา ไข้บวช, พรเพ็ญ สุขสบาย, ซามีฮา มีเซ็ง, สรวงสุดา เจริญวงศ์, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์. (2565).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 14(1), 80-98.
2) การพัฒนาโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดต่อเนื่องที่บ้านต่อปัจจัยจูงใจและปัจจัยค้ำจุน และความพึงพอใจของพยาบาลในหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ.
อัณญ์ยภัคสร ใจสมคม, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์. (2565).
วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 9(1), 310-324.
3) การประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง) พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์.
ฟูซียะห์ หะยี, สรวงสุดา เจริญวงศ์, บุญยิ่ง ทองคุปต์, มุสลินท์ โตะแปเราะ, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นิซรีน เจ๊ะมามะ, นันทา กาเลี่ยง, สุรวุฒิ ดอเลาะ. (2565).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 14(3), 92-104.
4) ผลของโปรแกรมการดูแลด้านโภชนาการต่อเนื่องที่บ้านต่อการเจริญเติบโตของผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดในหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภู.
ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, อัณญ์ยภัคสร ใจสมคม, ยุนี พงศ์จตุรวิทย์, ประเสริฐ ไพบูลย์รุ่งโรจน์, วนิสา หะยีเซะ. (2564).
วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 31(1), 136-147.
5) ผลของการใช้แอพพลิเคชั่นการดูแลแบบประคับประคองในมิติจิตวิญญาณตามวิถีพหุวัฒนธรรมต่อความรู้และการรับรู้ความสามารถในการดูแลมิติจิตวิญญาณของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในจังหวัดนราธิวา.
นูรดีนี ดือเระ, แอนซอรี อาลี, มนัสวี อดุลยรัตน์, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, ไซนะ บือดือเล๊าะ, สุภาวดี ขวัญเจริญ, นภัสวัลย์ สอนา. (2564).
วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 31(3), 85-95.
6) การพัฒนารูปแบบบันทึกเพื่อการส่งต่อในการดูแลและติดตามสุขภาพทารกเกิดก่อนกำหนดต่อเนื่องที่บ้าน.
วนิสา หะยีเซะ, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, ฮัมดี มาแย, วิมลวรรณ ดำคล้าย, ณัฐวุฒิ เชื้อกุลา. (2563).
วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 7(2), 244-259.
7) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติ่กรรมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงของผู้ใหญ่ไทยที่มีภาวะก่อนเป็นโรคความดันโลหิตสูง.
อัณญ์ยภัคสร ใจสมคม, พัชราวดี ทองเนื่อง, นันทิยา โข้ยนึ่ง, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นูรดีนี ดือเระ, พัชรี รัตนพงษ์. (2563).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 12(3), 1-18.
8) การพัฒนาเตียงสุขาแบบเปลนอน นวัตกรรมเพื่อความปลอดภัย สำหรับผู้ป่วยติดเตียงในโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์.
ทัศณียา ไข้บวช, พรเพ็ญ สุขสบาย, นิกร บูรพันธ์, อมรา ดือเระ, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์. (2563).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 12(2), 1-16.
9) ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ต่อความรู้และบทบาทของผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดอายุ 0-3 ปี.
ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, อนงค์ ภิบาล, ประเสริฐ ไพบูลย์รุ่งโรจน์, วนิสา หะยีเซะ, สาวิณี ชาญสินธพ, นูรดีนี ดือเระ, นิรุสณีย์ อากาจิ. (2562).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 11(3), 93-103.
10) ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลและติดตามทารกเกิดก่อนกำหนดหลงจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล.
วนิสา หะยีเซะ, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, วิมลวรรณ ดำคล้าย, นุจรี ไชยมงคล. (2562).
วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา , 27(2), 30-39.
11) ภาวะโภชนาการและประสบการณ์ของผู้ดูแลในการจัดการด้านอาหารสำหรับเด็กผุ้ป่วยโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดอายุ 0-3 ปี ในจังหวัดชายแดนใต้.
ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, อัณญ์ยภัคสร ใจสมคม, ยุนี พงศ์จตุรวิทย์, ประเสริฐ ไพบูลย์รุ่งโรจน์, วนิสา หะยีเซะ, ลุตฟี สะมะแอ. (2562).
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 30(2), 82-93.
12) ผลของโปรแกรมการรับรู้ความสามารถของผู้ดูแลในการตอบสนองความต้องการพื้นฐานทารกต่อภาวะสุขภาพทารกเกิดก่อนกำหนดมุสลิมในจังหวัดนราธิวาส.
วนิสา หะยีเซะ, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, ศิราคริน พิชัยสงคราม, นุจรี ไชยมงคล. (2560).
วารสารพยาบาลสาธารณสุข , 31(1), 61-74.
13) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตทารกเกิดก่อนกำหนด มุสลิมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้.
วนิสา หะยีเซะ, นุชสรา ทรัพย์อินทร์, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นุจรี ไชยมงคล. (2558).
วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา , 23(3), 26-40.
14) คุณภาพชีวิตของทารกเกิดก่อนกำหนดมุสลิมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ของประเทศไทย.
วนิสา หะยีเซะ, นุชสรา ทรัพย์อินทร์, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์. (2558).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 7(1), 1-14.
15) ผลของโปรแกรมการโอบกอดร่วมกับการอ่านอัลกุรอานของมารดามุสลิมต่อการเจริญเติมโตของทารกคลอดก่อนกำหนดและความผูกพันรักใคร่ระหว่างมารดา-ทารก.
วนิสา หะยีเซะ, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นุจรี ไชยมงคล. (2557).
วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา , 22(2), 37-51.
16) อิทธิพลของความผูกพันรักใคร่ระหว่างมารดา - ทารก ที่มีต่อการเจริญเติบโตของทารกเกิดก่อนกำหนดในหออภิบาลทารกแรกเกิดโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์.
วนิสา หะยีเซะ, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นุจรี ไชยมงคล. (2557).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 6(3), 13-23.
17) ปัจจัยมีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือนของมารดาในจังหวัดนราธิวาส.
ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นันทา กาเลี่ยง, อนงค์ ภิบาล, อัณญ์ยภัคสร ใจสมคม, วนิสา หะยีเซะ. (2557).
พยาบาลสาร , 41, 123-133.
1) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล แรงสนับสนุนทางสังคม การรับรู้ความสามารถของผู้ดูแล กับคุณภาพชีวิตของทารกเกิดก่อนกำหนดมุสลิมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้.
วนิสา หะยีเซะ, นุชสรา ทรัพย์อินทร์, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นุจรี ไชยมงคล. (2558).
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 ประจำปี 2558 เรื่อง การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน ผลงานวิจัยภาคโปสเตอร์. 131-140.
2) ผลของการอ่านอัลกุรอานของมารดามุสลิม ต่อการเจริญเติบโตของทารกเกิดก่อนกำหนดและความผูกพันรักใคร่ระหว่างมารดา-ทารก.
วนิสา หะยีเซะ, ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, นุจรี ไชยมงคล. (2557).
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 "การบูรณาการงานวิจัยเพื่อสร้างสังคมอุดมปัญญาภายใต้พหุวัฒนธรรมสู่สังคมสันติสุขและประชาคมอาเซียน". 0-0.